รถไฟฟ้าสายสีเหลือง ทดลองใช้ 3 มิ.ย. รถไฟฟ้าสายสีเหลือง นั่งฟรี ประชาชน งง รถไฟสายสีเหลืองเส้นทาง รถไฟฟ้าสายสีเหลืองเชื่อมต่อ mrt ?
รถไฟฟ้าสายสีเหลือง ทดลองใช้ 3 มิ.ย. รถไฟฟ้าสายสีเหลือง นั่งฟรี ประชาชน งง รถไฟสายสีเหลืองเส้นทาง รถไฟฟ้าสายสีเหลืองเชื่อมต่อ mrt ?
รถไฟฟ้าสายสีเหลือง ทดลองใช้ 3 มิ.ย. รถไฟฟ้าสายสีเหลือง นั่งฟรี ประชาชน งง รถไฟสายสีเหลืองเส้นทาง รถไฟฟ้าสายสีเหลืองเชื่อมต่อ mrt ?
วันที่3มิถุนายน2566 : 13:59:23
ข่าว รถไฟฟ้า สายสีเหลือง ล่าสุด, รถไฟฟ้าสายสีเหลือง สถานี, รถไฟฟ้าสายสีเหลืองเปิดให้บริการ
ข่าววันที่ 3 มิถุนายน 2566 News Update ข่าววันนี้, ข่าววันนี้ล่าสุด ข่าวสด ข่าวด่วนวันนี้ Google News ไทย, google ข่าวฮอตวันนี้, google ข่าววันนี้, ok google ข่าววันนี้, ข่าววันนี้สด, ข่าว-วัน-นี้ หลังจาก วันที่ 3 มิถุนายน 2566 เป็นต้นไป ระหว่างเวลา 09.00-20.00 น. ได้เปิดให้ประชาชนร่วมทดสอบการเดินรถเสมือนจริง ได้ฟรี จำนวน 13 สถานี ได้แก่ หัวหมาก / กลันตัน / ศรีนุช / ศรีนครินทร์ 38 / สวนหลวง ร.9 / ศรีอุดม / ศรีเอี่ยม / ศรีลาซาล / ศรีแบริ่ง / ศรีด่าน / ศรีเทพา / ทิพวัล /สำโรง
ซึ่งปรากฏว่ามีประชาชนใช้งานจำนวนมาก แต่ยังหลงสถานีอยู่บ้าง โดย มีคำถามมากมาย เช่น รถไฟฟ้าสายสีเหลือง, รถไฟฟ้าสายสีเหลือง นั่งฟรี, รถไฟฟ้าสายสีเหลือง ทดลองใช้, รถไฟฟ้าสายสีเหลือง ล่าสุด, รถไฟฟ้าสายสีเหลือง ราคา, รถไฟฟ้าสายสีเหลืองเสร็จเมื่อไหร่, รถไฟฟ้าสายสีเหลือง 2565, รถไฟฟ้าสายสีเหลือง เริ่มก่อสร้าง, รถไฟฟ้าสายสีเหลือง เชื่อมต่อ mrt, รถไฟฟ้าสายสีเหลือง 2566, รถไฟสายสีเหลือง, รถไฟสายสีเหลืองเส้นทาง, รถไฟฟ้าสายสีเหลือง เปิดเมื่อไหร่, รถไฟฟ้าสายสีเหลือง นั่งฟรี
รถไฟฟ้ามหานคร สายสีเหลือง หรือ โครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว - สำโรง เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนรองในพื้นที่กรุงเทพมหานครฝั่งตะวันออก ตลอดจนถึงพื้นที่ส่วนเหนือของจังหวัดสมุทรปราการ
ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ดำเนินการโดย บริษัท อีสเทิร์น บางกอกโมโนเรล จำกัด โดยได้รับสัญญาสัมปทานในการดำเนินการตั้งแต่การก่อสร้างจนถึงการเปิดให้บริการจาก การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย
ดำเนินการในรูปแบบรถไฟฟ้ายกระดับแบบรางเดี่ยว หรือ โมโนเรล มีแนวเส้นทางเริ่มต้นที่สถานีลาดพร้าว อันเป็นสถานีเชื่อมต่อกับ รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล จากนั้นไปทางทิศตะวันออกของกรุงเทพมหานคร
ก่อนมุ่งหน้าลงทิศใต้ตามแนวถนนศรีนครินทร์ แล้วเบนไปทางทิศตะวันตก ตามแนวถนนเทพารักษ์ สิ้นสุดเส้นทางที่สถานีสำโรง อันเป็นสถานีเชื่อมต่อกับ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท ระยะทางรวม 28.7 กิโลเมตร
เส้นทางสายนี้เกิดขึ้นครั้งแรกใน พ.ศ. 2543 โดยเป็นการรวมเส้นทางระบบขนส่งมวลชนรองช่วงรัชโยธิน - ศรีเอี่ยม และสำโรง - ศรีสำโรง ให้เป็นเส้นทางเดียวกัน แต่ได้ถูกนำออกไปเมื่อครั้งปรับปรุงแผนแม่บทปี พ.ศ. 2547 และนำกลับมาอีกครั้งในการปรับปรุงแผนแม่บท พ.ศ. 2549
โดยพิจารณาแยกเส้นทางออกเป็นสองช่วง คือช่วงแรกให้เป็นรถไฟฟ้ารางเดี่ยวจนถึงพัฒนาการแล้วเปลี่ยนเป็นรถไฟฟ้ารางหนักไปจนถึงสถานีสำโรง และใน พ.ศ. 2551 ได้มีการปรับปรุงเส้นทางสายสีเหลืองให้เป็นรถไฟฟ้าวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ก่อนปรับปรุงใหม่อีกครั้งใน พ.ศ. 2553 โดยลดเส้นทางเหลือเพียงช่วงลาดพร้าว - สำโรง และให้ดำเนินการเป็นระบบรถไฟฟ้ารางเดี่ยวทั้งสาย
ปัจจุบัน เปิดการทดสอบการเดินรถในบางช่วง โดยจะเปิดให้ประชาชนทั่วไปเข้าร่วมทดสอบการเดินรถเสมือนจริงในสถานีบางส่วน ตั้งแต่วันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2566 จำนวน 13 สถานี ตั้งแต่สถานีหัวหมาก - สถานีสำโรง ระหว่างเวลา 09.00 - 20.00 น.
รถไฟฟ้ามหานคร สายสีเหลือง เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีโครงสร้างเป็นทางยกระดับเหนือพื้นดินตลอดโครงการ ดำเนินการโดย บริษัท อีสเทิร์น บางกอกโมโนเรล จำกัด บริษัทร่วมค้าของกิจการร่วมค้าบีเอสอาร์ที่มี บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่
ที่ได้รับสัมปทานโครงการในการร่วมทุนก่อสร้างและดำเนินการเชิงพาณิชย์ หรือ PPP-Net Cost ภายในกรอบระยะเวลา 33 ปี 3 เดือน จากการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย มีแนวเส้นทางพาดผ่านพื้นที่กรุงเทพมหานครฝั่งตะวันออกเป็นส่วนใหญ่ ตลอดจนพื้นที่ส่วนเหนือของจังหวัดสมุทรปราการ เริ่มต้นเส้นทางจากบริเวณแยกรัชดา-ลาดพร้าว อันเป็นจุดเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล
วิ่งไปทางทิศตะวันออกตามแนวถนนลาดพร้าวจนถึงบริเวณแยกบางกะปิ แนวเส้นทางจะมุ่งลงใต้ตามแนวถนนศรีนครินทร์ และเข้าเขตจังหวัดสมุทรปราการหลังพ้นแยกศรีลาซาล จนถึงแยกศรีเทพา แนวเส้นทางจะเลี้ยวขวาไปตามแนวถนนเทพารักษ์ ไปสิ้นสุดที่บริเวณปากทางแยกสำโรง อันเป็นจุดเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท รวมระยะทาง 28.7 กิโลเมตร
นอกจากนี้ยังมีการเสนอก่อสร้างเส้นทางส่วนต่อขยายจากแยกรัชดา-ลาดพร้าว ขึ้นไปตามแนวถนนรัชดาภิเษก และสิ้นสุดที่แยกรัชโยธิน รวมระยะทาง 2 กิโลเมตร จากผู้รับสัมปทาน แต่ไม่ได้มีการก่อสร้างจริงเนื่องจากเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (Conflict of Interest)
หลัง บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ผู้ให้บริการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ได้คัดค้านการเกิดขึ้นของส่วนต่อขยายด้วยเหตุผลว่าส่วนต่อขยายจะแย่งผู้โดยสารและรายได้ของสายเฉลิมรัชมงคลไป
และจากข้อมูลในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พบว่าการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยเป็นผู้ถือหุ้นลำดับสองของบริษัทดังกล่าว จึงต้องรักษาผลประโยชน์ของบริษัทดังกล่าวก่อนผลประโยชน์ของประชาชน
แนวเส้นทางมีจุดเริ่มต้นจากสถานีลาดพร้าว อันเป็นจุดเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล บริเวณด้านหน้าอาคารจอดแล้วจร สถานีลาดพร้าว มุ่งหน้าไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวถนนลาดพร้าว
ข้ามทางพิเศษฉลองรัช เชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าสายสีเทาส่วนเหนือ ที่สถานีลาดพร้าว 83 จากนั้นมุ่งหน้าต่อจนถึงแยกบางกะปิโดยทางวิ่งจะซ้อนกับสะพานข้ามแยกบางกะปิ
จากนั้น แนวเส้นทางจะเบี่ยงลงทิศใต้ตามแนวถนนศรีนครินทร์ เชื่อมต่อกับรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและรถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล ที่สถานีแยกลำสาลี จากนั้นมุ่งหน้าข้ามทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 และทางรถไฟสายตะวันออก
เชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าเอราวัน สายซิตี้ และรถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงอ่อน ที่สถานีหัวหมาก จากนั้นมุ่งหน้าลงใต้จนถึงแยกศรีเอี่ยม แนวเส้นทางจะเบี่ยงไปใช้พื้นที่ของสำนักงานทางหลวงที่ 13 แขวงทางหลวงสมุทรปราการ เพื่อเข้าสู่สถานีศรีเอี่ยม ซึ่งตั้งอยู่ด้านหลังอาคารจอดแล้วจร เชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าสายสีเงิน
จากนั้นมุ่งหน้าลอดใต้ทางพิเศษบูรพาวิถีข้ามถนนเทพรัตน เพื่อเข้าสู่พื้นที่จังหวัดสมุทรปราการจนถึงแยกศรีเทพา แนวเส้นทางจะเบี่ยงขวาเข้าถนนเทพารักษ์ เพื่อสิ้นสุดเส้นทางที่สถานีสำโรง อันเป็นจุดเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท รวมระยะทาง 28.7 กิโลเมตร
แท็ก : รถไฟฟ้าสายสีเหลือง, รถไฟฟ้าสายสีเหลือง นั่งฟรี, รถไฟฟ้าสายสีเหลือง ทดลองใช้, รถไฟฟ้าสายสีเหลือง ล่าสุด, รถไฟฟ้าสายสีเหลือง ราคา, รถไฟฟ้าสายสีเหลืองเสร็จเมื่อไหร่, รถไฟฟ้าสายสีเหลือง 2565, รถไฟฟ้าสายสีเหลือง เริ่มก่อสร้าง, รถไฟฟ้าสายสีเหลือง เชื่อมต่อ mrt, รถไฟฟ้าสายสีเหลือง 2566, รถไฟสายสีเหลือง, รถไฟสายสีเหลืองเส้นทาง, รถไฟฟ้าสายสีเหลือง เปิดเมื่อไหร่, รถไฟฟ้าสายสีเหลือง นั่งฟรี
23 มิถุนายน 2566
ผู้ชม 29895 ครั้ง