รู้กันยัง ? วันนี้ 29 กุมภาพันธ์ 2563 เป็น ปีอธิกสุรทิน มี 366 วัน คนที่มีวันเกิดวันนี้ ต้องเฝ้ารอ วัน ที่ 29 กุมภาพันธ์ 4 ปี มี ครั้ง

บทความ

รู้กันยัง ? วันนี้ 29 กุมภาพันธ์ 2563 เป็น ปีอธิกสุรทิน มี 366 วัน คนที่มีวันเกิดวันนี้ ต้องเฝ้ารอ วัน ที่ 29 กุมภาพันธ์ 4 ปี มี ครั้ง

29 กุมภาพันธ์ 2563 ภาษาอังกฤษ , Leap Day , ปีอธิกสุรทิน ความหมาย , ปี อธิกสุรทิน คืออะไร , ปีอธิกสุรทิน , ปีอธิกสุรทิน มีลักษณะอย่างไร , ปีอธิกสุรทิน ภาษาอังกฤษ - News Update วันเสาร์ที่ 29 กุมภาพันธ์  2563 

ใครเกิดวันนี้ยกมือขึ้น 29 กุมภาพันธ์ ( Leap Day ) เคยสงสัยไหมว่า ทำไม 4 ปีมีครั้งเดียว ? 29 กุมภาพันธ์ 2563 คงเป็นวันพิเศษของใครหลายคนที่มีวันเกิดวันนี้

( สาระน่ารู้ ask a question : 29 กุมภาพันธ์กี่ปีมีครั้ง ? The answer : วันที่ 29 กุมภาพันธ์ถูกกำหนดให้ 4 ปีมีหนึ่งครั้งเท่านั้น

- leap day คือ ? วันอธิกสุรทิน. 

- กุมภาพันธ์ มี 29 วัน มีปีไหนบ้าง ? ทุกๆ ปีจะมีเวลาเพิ่มขึ้นประมาณ 6 ชั่วโมง ดังนั้น 4 ปีจะเท่ากับ 24 ชั่วโมง จึงต้องเพิ่มให้ปีดังกล่าวมี 366 วัน ดังนั้นก็นับไปอีก 4 ปีก็จะมี 29 กุมภาพันธ์.

เดือนกุมภาพันธ์มี 29 วัน ? ทุกๆ ปีจะมีเวลาเพิ่มขึ้นประมาณ 6 ชั่วโมง ดังนั้น 4 ปีจะเท่ากับ 24 ชั่วโมง จึงต้องเพิ่มให้ปีดังกล่าวมี 366 วัน.

ปีอธิกสุรทิน 2563 ? ปีนี้มี 29 กุมภาพันธ์.

4ปีมีครั้งเดียว ภาษาอังกฤษ ? และ 29 กุมภาพันธ์ 2563 ภาษาอังกฤษ ? ในภาษาอังกฤษ อธิกวารใช้คำว่า leap day. 

- มีปีไหนบ้าง เดือนกุมภาพันธ์มี 29 วัน ? อาทิเช่น 29 กุมภาพันธ์ 2563 และหากถามว่า ปี อธิกสุรทิน คือ ปี ที่ มี 366 วัน คือ ปี พ ศ ใด ? หลักการคำนวณ โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบกินเวลา 365.25224 วัน หรือ 365 กับอีก ¼ วัน

ซึ่งปีปกติที่มี 365 วันก็จะทำให้เวลาขาดไป ¼ วัน ดังนั้นจึงต้องทดไว้ เมื่อทดครบ 4 ปีก็จะได้เท่ากับ 1 วันพอดี จึงทำให้ต้องเพิ่ม 1 ปีมี 366 วันในทุกๆ 4 ปี.

- วันที่29กุมภาพันธ์ กี่ปีมีครั้ง ? เช่น เดือนกุมภาพันธ์ 2563 เพราะปีปกติมี 365 วัน แต่ทุกๆ 4 ปีจะต้องเพิ่มขึ้นมาอีก 1 วันเพื่อให้สอดคล้องกับระยะเวลาที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ นั่นหมายความว่าโลกใช้เวลาโคจรรอบดวงอาทิตย์นานกว่า 365 วัน.

- 4 ปี มี 1 ครั้ง ภาษาอังกฤษ ? ปี อธิกสุรทิน ในภาษาไทย คือ อธิก แปลว่า เพิ่ม , สุร แปลว่า พระอาทิตย์ , ทิน แปลว่า วัน หรือภาษาอังกฤษ ใช้คำว่า Leap year คือปีที่มีการเพิ่มวัน เพื่อให้ปฏิทินได้สอดคล้องกับปีฤดูกาลหรือปีดาราศาสตร์. 

ปีอธิกสุรทินคือ ปีอธิกสุรทิน มีลักษณะอย่างไร ? 

แต่ละฤดูกาล แต่ละเหตุการณ์ทางดาราศาสตร์ไม่ได้เกิดซ้ำในจำนวนเต็มวัน หมายถึง ภายใน 1 วันไม่ได้ใช้เวลา 24 ชั่วโมงพอดีนั่นเอง

ปฏิทินซึ่งมีจำนวนวันในแต่ละปีเท่าเดิมจึงต้องเลื่อนวันให้ตรงกับเหตุการณ์ต่างๆในแต่ละวัน เช่น เช้า เที่ยง เย็น โดยการแทรกวันเพิ่มเข้าไปในปีนั้น.) 

เนื่องจากวันที่ 29 กุมภาพันธ์  ต้องรอตั้ง 4 ปีกว่าจะมีให้เห็นสักครั้ง ช่างเป็นเดือนพิเศษไม่เหมือนใคร ๆ จริงๆ

เชื่อว่าหลายคนคงสงสัยว่าทำไมกันนะ 29 กุมภาพันธ์ ( Leap Day ) ทำไม 4 ปี ถึงมีแค่ครั้งเดียว ? และทำไมต้องเป็นวันที่ 29 กุมภาพันธ์

เว็บไซต์ medhubnews.com ข่าวสังคม สุขภาพ สาธารณสุข ท่องเที่ยว วาไรตี้  และ เพจ sasook รายงานว่า ล่าสุด ทาง google doodle ได้วาดภาพ ให้แสดงไว้ที่หน้าแรกแล้ว

เรามาไขข้อข้องใจเกี่ยวกับ ปีอธิกสุรทิน และมาทำความเข้าใจเดือนพิเศษ อย่างเดือนกุมภาพันธ์กันให้มากขึ้นดีกว่า

ปีอธิกสุรทิน คืออะไร ?

ปีอธิกสุรทิน เป็นปีที่มีการเพิ่มหนึ่งวัน หรือ หนึ่งเดือนในกรณีของปฏิทินสุริยจันทรคติ เพื่อให้ปีปฏิทินสอดคล้องกับปีดาราศาสตร์ หรือปีฤดูกาล

เหตุเพราะฤดูกาลและเหตุการณ์ทางดาราศาสตร์ไม่ได้เกิดซ้ำในจำนวนเต็มวัน ปฏิทินซึ่งมีจำนวนวันในแต่ละปีเท่าเดิมจึงต้องเลื่อนให้ตรงกับเหตุการณ์ที่ปฏิทินควรจะติดตามเมื่อเวลาผ่านไป

ซึ่งจะมีการแทรกวันหรือเดือนเพิ่มเข้าไปในปีนั้น การเลื่อนจึงสามารถทำให้ถูกต้องได้ นอกจากนี้ปีที่ไม่ใช่ปีอธิกสุรทิน เรียกว่า ปีปกติสุรทิน (common year)

เดือนกุมภาพันธ์ ใน ปีอธิกสุรทินนั้นจะมี 29 วัน แทนที่จะมี 28 วันตามปกติ ดังนั้น ปีดังกล่าวจึงมี 366 วัน แทนที่จะมี 365 วัน

ในปฏิทินฮีบรู เดือนจันทรคติที่ 13 มีการเพิ่มเจ็ดครั้งทุก 19 ปี เข้าไปในเดือนจันทรคติสิบสองเดือนในปีปกติสุรทินเพื่อให้ปีปฏิทินไม่คาดเคลื่อนจากฤดูกาลเร็วเกินไป

ในปฏิทินเกรโกเรียน  ปฏิทินมาตรฐานปัจจุบัน ในส่วนใหญ่ของโลก ปีอธิกสุรทิน หมายถึง ปีที่หารด้วย 4 ลงตัวเป็นส่วนมาก

ปีอธิกสุรทินแต่ละปีนั้น เดือนกุมภาพันธ์มี 29 วัน แทนที่จะมี 28 วัน แต่การเพิ่มวันเข้าไปในปฏิทินทุก 4 ปีเพื่อชดเชยตามข้อเท็จจริงที่ว่าระยะเวลา 365 วันนั้นสั้นกว่าปีสุริยคติเกือบ 1 ส่วน 4 วัน หรือ 6 ชั่วโมง

อย่างไรก็ตาม ปฏิทินจูเลียน ยังไม่ใช่ปฏิทินที่ใช้มาถึงปัจจุบัน เพราะปฏิทินดังกล่าวยังพบจุดบกพร่อง เนื่องจากในปีคริสตศักราชที่ 1582

มีการค้นพบว่า โลกไม่ได้ใช้เวลา 1 ปีหมุนรอบดวงอาทิตย์ 365.25 วัน หรือเท่ากับ 365 วัน 6 ชั่วโมง

แต่ถูกค้นพบว่าการโคจรดังกล่าวอยู่ที่ 365.2425 วันต่อ 1 ปี หรือเท่ากับ 365 วัน 5 ชั่วโมง 48 นาที 45 วินาที

ซึ่งใกล้เคียงกับของเดิม เท่ากับว่า หากใช้ปฏิทินจูเลียนไปครบ 134 ปี จะทำให้มีวันงอกเกินออกมา 1 วัน

จากการคำนวณครั้งนั้น จึงได้เกิดการเสนอการปฏิรูปปฏิทินขึ้นใหม่เรียกว่า "ปฏิทินเกรโกเรียน" (Modern “Gregorian” Calendar)

โดยได้พระสันตปาปาเกรโกรีที่ 13 เป็นผู้ประกาศใช้และเริ่มต้นในปีเดียวกัน (ค.ศ.1582) โดยที่ปฏิทินเกรโกเรียน ได้ปรับปรุงปฏิทินให้มีผลย้อนหลัง

ตามจำนวนวันที่หายไป 10 เมื่อปี ค.ศ.1900 และจะถูกใช้เป็นปฏิทินคริสตศักราชสากลจนถึงปัจจุบัน

05 มกราคม 2564

ผู้ชม 23461 ครั้ง

Engine by shopup.com