ความล้มสลาย เครือสารสาสน์  เกิดจาก Think Big คือคิดการใหญ่ ของ เจ้าของโรงเรียนสารสาสน์ มองการศึกษาเป็นแค่ธุรกิจ

บทความ

ความล้มสลาย เครือสารสาสน์  เกิดจาก Think Big คือคิดการใหญ่ ของ เจ้าของโรงเรียนสารสาสน์ มองการศึกษาเป็นแค่ธุรกิจ

พิบูลย์ ยงค์กมล ครอบครัว, เพ็ญศรี ยงค์กมล เสียชีวิต, อาจารย์เพ็ญศรี ยงค์กมล, แม่ใหญ่สารสาสน์, เพ็ญศรี ยงค์กมล, พิบูลย์ ยงค์กมล ครอบครัว, เจ้าของโรงเรียนสารสาสน์

เว็บไซต์สุขภาพ ข่าวสาธารณสุข ท่องเที่ยว  เศรษฐกิจ วาไรตี้ - ความล้มสลาย เครือสารสาสน์  เกิดจากจุดเริ่มต้น Think Big  ของ เจ้าของโรงเรียนสารสาสน์

มองการศึกษาเป็นแค่ธุรกิจ เฉพาะโรงเรียน 24 แห่ง ขยายไปอุดมศึกษาเป็น 45 แห่ง

News Update วันอังคารที่ 29 กันยายน 2563 - ข่าวล่าสุดวันนี้ : แวดวงการศึกษาไทย ตอนนี้ กำลังโฟกัสไปที่ เหตุการณ์น้ำผึ้งหยดเดียว

ที่เริ่มต้นจาก ข่าวครูทําร้ายนักเรียน ครูทําร้ายนักเรียน ครูจุ๋มชื่อจริง อรอุมา ปลอดโปร่งจาก สารสาสน์ราชพฤกษ์ โรงเรียนในเครือสารสาสน์

พิบูลย์ ยงค์กมล เจ้าของ รร สารสาสน์

เครือสารสาสน์  มี พิบูลย์ ยงค์กมล เป็น  เจ้าของโรงเรียนสารสาสน์ ที่มี โรงเรียนสารสาสน์ราชพฤกษ์

และ โรงเรียนสารสาสน์  ทั้งหมด เฉพาะโรงเรียน 24 แห่ง และได้ขยายออกไป ระดับอุดมศึกษาเป็น 45 แห่ง

งานเปิดโรงเรียน มี พิบูลย์ ยงค์กมล ครอบครัว, อาจารย์เพ็ญศรี ยงค์กมล, แม่ใหญ่สารสาสน์, เพ็ญศรี ยงค์กมล, เจ้าของโรงเรียนสารสาสน์

ล่าสุด เว็บไซต์ medhubnews.com ข่าวสังคม สุขภาพ ท่องเที่ยว วาไรตี้ และ เพจ sasook ทวิตเตอร์ @medhub_news  รายงานว่า จากแค่ ข่าวครูทําร้ายนักเรียน ในวันนี้ ไม่ใช่เรื่องเล็กๆ แล้ว

เมื่อ พิบูลย์ ยงค์กมล ออกมาเคลื่อนไหว โดยตำหนิ ครู ที่เป็นลูกจ้าง ระดับผู้อำนวยการโรงเรียน 24 แห่ง ว่าไม่ดูแลโรงเรียนให้ทั่วถึง

ตำหนิ แม้กระทั่งลงรายละเอียดว่าให้ ระดับผู้อำนวยการโรงเรียน อยู่ในห้องทำงานได้แค่สองชั่วโมงต่อวันเท่านั้น

เป็นบทเรียนที่ดี สำหรับธุรกิจบริการการศึกษา ทั้งประเภทศึกษาในระบบโรงเรียน และนอกระบบโรงเรียน

พิบูลย์ยงค์กมล มอง โรงเรียนสารสาสน์ 24 แห่ง ในฐานะ เจ้าของโรงเรียนสารสาสน์ เจ้าของ ธุรกิจเครือข่ายโรงเรียนสองภาษาที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย

โดยลืมมองเรื่อง ระบบการศึกษา ที่สำคัญ กว่าการทำโรงเรียนให้เยอะ เน้นกำไร หรือมองเป็น แค่ ธุรกิจบริการการศึกษา

และ ลืมตระหนัก เรื่อง พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550 ที่พบว่า เจ้าของโรงเรียนสารสาสน์ นิ่งดูดาย หรือ ดูแลไม่ทั่วถึง ทั้ง 24 แห่ง

คลิ๊กอ่านข่าว ไขข้อสงสัย ครูจุ๋ม อรอุมา ปลอดโปร่ง ครูทําร้ายนักเรียนอนุบาล มีปมอะไร ?

เพราะหาก พิบูลย์ยงค์กมล เจ้าของโรงเรียนสารสาสน์ ใช้เวลาดูแล โรงเรียนสารสาสน์ ทั้ง 24 แห่ง ให้ทั่วถึง จะพบว่า พิบูลย์ยงค์กมล ทำงานตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เหลือเวลาดูแลชีวิตตัวเองเลย

หลังจาก เพ็ญศรี ยงค์กมล เสียชีวิต ถือเป็น แม่ใหญ่สารสาสน์ ซึ่งเป็นภรรยา และ รองประธานอำนวยการโรงเรียนในเครือสารสาสน์ พิบูลย์ ยงค์กมล ครอบครัว เจ้าของโรงเรียนสารสาสน์ เมื่อ 11 มิ.ย. 2563

ดูเหมือนเป้าหมาย ของ พิบูลย์ยงค์กมล เริ่มเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งสามารถตามอ่านได้จากบทสัมภษณ์ ที่  พิบูลย์ยงค์กมล เคยระบุถึงการขยายโรงเรียน เป็นมหาวิทยาลัย ที่ใหญ่ และ มากที่สุด

ล่าสุด คุรุสภา ดำเนินการแจ้งทุกข์กล่าวโทษ ผู้บริหารโรงเรียน และครูที่เกี่ยวข้อง  ครูผู้สอน ครูพี่เลี้ยง ไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู

และ สช. ไปดำเนินการตรวจสอบใบประกอบวิชาชีพครูทั้งหมด  หากพบว่าครูผู้สอน ไม่มีใบประกอบวิชาชีพครู จะต้องถูกดำเนินคดี         

จากการตรวจสอบเบื้องต้น โรงเรียนสารสาสน์ ทำผิดกฎหมาย โดยเฉพาะการจ้างผู้ไม่มีใบประกอบวิชาชีพ

นอกจากนี้ยังพบว่า โรงเรียนสารสาสน์วิเทศราชพฤกษ์ แจ้งเก็บค่าธรรมเนียม ห้องEP โดยเก็บปีละ 80,000 บาท

ซึ่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550 กำหนดว่า ห้องเรียนหนึ่งห้องจะต้องมีนักเรียนไม่เกิน 25 คนในชั้นอนุบาล ห้องเรียนระดับ มัธยมศึกษา ไม่เกิน 30 คน

และ เจ้าของ สารสาสน์ มีอำนาจเรียกเก็นเงิน ห้องเรียนละไม่เกิน 40,000 บาท ต่อปี ประกอบด้วย ค่าอาหาร , ค่าประกัน , ค่าว่ายน้ำ , ค่าตรวจสารเสพติด ค่าทักษะเรียนเสริม และ ค่าอื่นๆ

ทั้งนี้ ห้องEP โดยเก็บปีละ 80,000 บาท ผู้ปกครองสามารถดำเนินคดี กับโรงเรียน ได้ เพราะเก็บเกินถึงเท่าตัว ตาม พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550  ที่กำหนดไว้

เท่ากับว่า มีความผิดแล้ว ทางโรงเรียนจะต้องจ่ายเงินคืน ให้แก่ผู้ปกครอง อีกด้วย ส่วนจำนวนเด็กนักเรียน ผิดกฎระเบียบจะต้องถูกดำเนินการทางวินัย และต้องแก้ไขให้ไม่เกินกำหนด

สถานการณ์วิกฤตของ โรงเรียนในเครือสารสาสน์ ที่เริ่มต้นเกิดจากคนๆ เดียวคือ  ครูจุ๋ม อรอุมา ปลอดโปร่ง จนกระทั่งบานปลาย

อาจจะนำไปสู่ ความล้มสลายเครือสารสาสน์ ที่ทั้งหมด เหตุเกิดจากแนวคิด เจ้าของโรงเรียนสารสาสน์ มองการศึกษาเป็นแค่ธุรกิจ เท่านั้น

รูปครูจุ๋มสารสาสน์ราชพฤกษ์  อรอุมา ปลอดโปร่ง

ซึ่งสะท้อนแนวคิด กำเนิด สารสาสน์  ด้วยวิสัยทัศน์แบบ Think Big  หลังจาก พิบูลย์ ยงค์กมล สั่งสมประสบการณ์บนเส้นทางสายครูมากว่าสิบปี

พิบูลย์ ยงค์กมล เกิดความคิดในลักษณะ Think Big คือคิดการใหญ่

คลิ๊กอ่านข่าว  เผยโฉม พิบูลย์ - เพ็ญศรี ยงค์กมล เจ้าของโรงเรียนสารสาสน์ และ เครือสารสาสน์ 

เกิดไอเดียว่าอยากสร้างโรงเรียนของตนเองขึ้น จึงเริ่มต้นด้วยการชักชวนเพื่อนครูที่รู้จักกัน มาร่วมลงขัน

 โดยกำหนดจำนวนไว้ที่คนละ 10,000-30,000 บาท ขณะที่อาจารย์พิบูลย์เอง ได้ลงทุนไปเป็นจำนวน 20,000 บาท

“ผมคิดการใหญ่ อยากสร้างโรงเรียน และผมเคยฟังมาว่าการจะสร้างบริษัท หากทำคนเดียวไม่ได้ ให้หาหุ้นส่วน

ผมก็เลยชวนเพื่อนๆ มาทำโรงเรียนและร่วมกันลงทุน โดยผมลงทุนไป 20,000 บาท และบังเอิญมีลูกศิษย์คนหนึ่งบอกว่าครอบครัวเขามีที่ทางอยู่แถวถนนสาธุประดิษฐ์

ผมก็เลยได้ไปคุยกับพ่อของลูกศิษย์คนดังกล่าว เพื่อขอเขาเช่าที่ทำโรงเรียน เป็นจำนวน 2 ไร่ 1 งาน จนกระทั่งปี พ.ศ.2507 จึงได้ก่อตั้งโรงเรียนสารสาสน์พิทยาขึ้นมา เป็นโรงเรียนแห่งแรกของโรงเรียนในเครือสารสาสน์ทั้งหมด

“การทำโรงเรียนสารสาสน์พิทยาในระยะแรกเริ่ม ผมต้องรับผิดชอบแทบทุกอย่าง ตั้งแต่เป็นครูใหญ่ สอนหนังสือ ออกข้อสอบ พิมพ์ข้อสอบ

ทำเองทุกอย่าง สุดท้ายเพื่อนก็ขายหุ้นแยกตัวออกไป ทำให้เหลือผมคนเดียวที่รับหน้าที่ทำโรงเรียนเรื่อยมา”

จากวันแรกที่เริ่มก่อตั้งจนกระทั่งถึงปัจจุบัน โรงเรียนในเครือสารสาสน์เติบโตและพัฒนา ขยายสาขาได้มากถึง 45 แห่ง

มีทั้งแผนกสามัญ แผนกสองภาษา แผนกสองภาษาอาเซียน แผนกการจัดการเรียนการสอนแบบนานาชาติ

อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นปฐมวัยถึงอุดมศึกษา มีนักเรียนในเครือสารสาสน์ทั้งหมด 91,500 คน

แท็ก : เจ้าของโรงเรียนสารสาสน์, อรอุมา ปลอดโปร่ง, เจ้าของสารสาสน์, เจ้าของโรงเรียนสารสาสน์ราชพฤกษ์, พิบูลย์ยงค์กมล, พิบูลย์ ยงค์กมล, ประวัติครูจุ๋ม, ครูทําร้ายนักเรียน, รูปครูจุ๋มสารสาสน์ราชพฤกษ์, สารสาสน์ เจ้าของ, สารสาสน์ราชพฤกษ์, ข่าวครูทําร้ายนักเรียน, เจ้าของ รร สารสาสน์, เจ้าของ สารสาสน์, โรงเรียนสารสาสน์

02 ตุลาคม 2563

ผู้ชม 18842 ครั้ง

Engine by shopup.com