ศิษย์เก่าคิดถึง แม่ใหญ่สารสาสน์ อาจารย์เพ็ญศรี ยงค์กมล เผย วันที่ 19 กันยายน 2565 วันศรีสารสาสน์ มารู้จัก วันศรีสารสาสน์ คืออะไร
ศิษย์เก่าคิดถึง แม่ใหญ่สารสาสน์ อาจารย์เพ็ญศรี ยงค์กมล เผย วันที่ 19 กันยายน 2565 วันศรีสารสาสน์ มารู้จัก วันศรีสารสาสน์ คืออะไร
ศิษย์เก่าคิดถึง แม่ใหญ่สารสาสน์ อาจารย์เพ็ญศรี ยงค์กมล เผย วันที่ 19 กันยายน 2565 วันศรีสารสาสน์ มารู้จัก วันศรีสารสาสน์ คืออะไร วันศรีสารสาสน์ คือ วันศรีสารสาสน์ ประวัติ
วันที่ 12 กันยายน 2565 : 02:48:55
News Update - ข่าววันนี้ล่าสุด, ข่าววงการศึกษา
“หลักการก็คือว่า ถ้าเรามีคุณภาพ ไม่มีปริมาณ ก็ไปไม่ได้ หรือมีปริมาณ แต่ไม่มีคุณภาพ ก็ไปไม่รอด ก็เหมือนกับอาหาร
ถ้ามีปริมาณเยอะ แต่ไม่มีคุณภาพ ก็ใช่ว่าจะดีต่อสุขภาพ ดังนั้น เราต้องมีควบคู่กันทั้งหมด ไม่อย่างนั้น เราอยู่ไม่ได้” หลักการบริหาร ของ นายพิบูลย์ ยงค์กมล เจ้าของโรงเรียนสารสาสน์
เว็บไซต์สุขภาพ ข่าวสาธารณสุข ท่องเที่ยว วาไรตี้ - ศิษย์เก่าคิดถึง แม่ใหญ่สารสาสน์ อาจารย์เพ็ญศรี ยงค์กมล หลัง พ่อใหญ่ ตอกด้วยคำแรงๆ ใส่รัฐมนตรี จนแทบไม่น่าเชื่อว่าเป็น นักบุญผู้ยิ่งใหญ่
โรงเรียนสารสาสน์พิทยา
ย้อนกลับไปเมื่อ วันศุกร์ที่ 2 ตุลาคม 2563 - ท่ามกลางข่าว ครูทําร้ายนักเรียนสารสาสน์บรรดาศิษย์เก่าของ โรงเรียนสารสาสน์ เป็นที่รู้กันว่า อาคารโดมสไตล์อิตาลี หลังใหญ่ตั้งตระหง่านท่ามกลางท้องฟ้าสีคราม
กลายเป็นเอกลักษณ์ที่ใครเห็นก็ต้องรู้ว่าที่นี่คือ โรงเรียนสารสาสน์ ที่วันนี้ขยายเครือข่ายไปทั่วเมือง ทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด
ส่วนของคดี ตำรวจได้สรุปว่ามีการกระทำความรุนแรงกับเด็กกว่า 29 เหตุการณ์ มีเด็กผู้เสียหาย 10 คน, ห้อง C ห้องเรียนของครูอิ้ว 3 ครั้ง
ห้องเรียนอาเซียนของครูแพร 3 ครั้ง, ห้องเรียน B 1 ครั้ง สรุปรวมเกิดทั้งหมด 36 เหตุการณ์ ส่วนระดับเนิร์สเซอรีนั้น พบว่าพี่เลี้ยงทำร้ายเด็ก 16 ครั้ง
เว็บไซต์ medhubnews.com ข่าวสังคม สุขภาพ ท่องเที่ยว วาไรตี้ และ เพจ sasook ทวิตเตอร์ @medhub_news รายงานว่า สิ่งที่ค้างคาใจของ บรรดาศิษย์เก่า และ สังคมคือ
คำพูดแรงๆ ของ พิบูลย์ ยงค์กมล เจ้าของโรงเรียนสารสาสน์ ที่ระบุว่า “ปิดโรงเรียน คิดเป็นหรือเปล่า เอาหัวแม่ตีนคิดหรือเปล่า” “รู้ว่าแพงจะมาเรียนทำไม”
“ปิดผมก็ไม่กลัว ผมขายที่กำไรดีกว่าทำโรงเรียนอีก” “ผมเองเป็นครูตั้งแต่อายุ 18 ปี จนเดี๋ยวนี้ก็ไม่มีใบประกอบวิชาชีพ” ทั้งหมดคือคำพูดของ พิบูลย์ยงค์กมล
โดย พิบูลย์ ยงค์กมล หรือ พ่อใหญ่สารสาสน์ ใช้คำพูด และ มีท่าทีไม่ดี ต่อ ดร.กนกวรรณ วิลาวัลย์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (รมช.ศธ.)
ดร.กนกวรรณ บอกว่า "ขอโทษนะท่านเป็นนักบริหารและเป็นครู ท่านพูดอย่างนี้ไม่ถูกต้อง ท่านมาเปรียบเทียบร่างกายกับจิตใจท่านทำไม่ถูกต้อง และขอพูดว่าสิ่งที่ท่านพูดทั้งความเป็นคนปกติที่ได้รับฟังก็รู้สึกว่าท่านเป็นผู้ใหญ่ที่ไม่น่านับถือ
และในฐานะที่เป็นรัฐมนตรีท่านไม่เหมาะที่จะทำการศึกษา ท่านเป็นคนไม่มีความสง่างามเลย"
สำหรับ นาย พิบูลย์ และ นาง เพ็ญ ศรี ยง ค์ กมล หรือ อาจารย์พิบูลย์ ยงค์กมล และอาจารย์เพ็ญศรี ยงค์กมล พ่อใหญ่ และแม่ใหญ่ ของนักเรียนโรงเรียนสารสาสน์พิทยา
อาจารย์ เพ็ญศรี ยงค์กมล เสียชีวิต เจ้าของ รร สารสาสน์
ทั้ง พิบูลย์ ยงค์กมล เพ็ญศรี ยงค์กมล ก่อตั้งโรงเรียนแห่งนี้มาตั้งแต่บริเวณเขตยานนาวา ยังเป็นอำเภอยานนาวา จังหวัดพระนคร และยังเป็นโรงเรียนที่สอนหลักสูตร 2 ภาษาขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย
ประวัติอาจารย์เพ็ญศรี ยงค์กมล และ พิบูลย์ ยงค์กมล ครอบครัว
“ผมเข้ามาเรียนที่โรงเรียนสารสาสน์เมื่อ 40 กว่าปีแล้ว ยังทันได้เรียนตอนที่โรงเรียนนี้ยังเป็นตึกไม้เลย เด็กๆทุกคนรัก แม่ใหญ่สารสาสน์ หรือ อาจารย์เพ็ญศรี ยงค์กมล ( ปัจจุบัน เพ็ญศรี ยงค์กมล เสียชีวิต ) กันหมด
รูปเพ็ญศรี ยงค์กมล, เจ้าของโรงเรียนสารสาสน์
เพราะ แม่ใหญ่สารสาสน์ หรือ อาจารย์เพ็ญศรี ยงค์กมล ท่านใจดีมาก คนไหนที่ไม่ได้เรียนหนังสือแม่ใหญ่ก็จะดึงให้มาเรียน
สมัยก่อนคนไทยเรามีลูกมากท่าน พ่อแม่ส่งให้เรียนหมดทุกคนไม่ไหว แม่ใหญ่สารสาสน์ หรือ อาจารย์เพ็ญศรี ยงค์กมลท่านก็เลยให้เรียน 3 คนฟรี 1 คน
และทุกวันนี้อาจารย์ที่อายุ 80 กว่าปียังมาทำงานในโรงเรียนขายหนังสืออยู่ในห้องหนังสือ ภารโรงที่อายุเยอะแล้ว ก็ยังทำหน้าที่ช่วยดูแลโรงเรียนนี้อยู่อย่างไม่มีกำหนดวันเกษียณอายุ” ศิษย์เก่าโรงเรียนสารสาสน์พิทยา กล่าว
โรงเรียนสารสาสน์พิทยา ถือเป็น จุดกำเนิดความรู้ให้กับเด็กๆ ในย่านพระราม 3 เป็นโรงเรียนลำดับที่ 1 ของโรงเรียนในเครือสารสาสน์
อันเป็นต้นแบบที่นำไปใช้อย่างเป็นทางการที่โรงเรียนสารสาสน์เอกตราซึ่งตั้งอยู่ใกล้ๆกัน แรกเริ่มสร้างขึ้นเป็นอาคารไม้ 2 ชั้น มีทั้งหมด 12 ห้องเรียน
และข้างๆมีเรือนไม้ชั้นเดียวอีกเพียง 1 หลังเล็กๆมีอีก 3 ห้องเรียน เปิดสอนตั้งแต่เตรียมประถมจนถึงมศ.3 มีนักเรียนจำนวน 410 คน และครูเพียง 16 คนเท่านั้น
44 ปีผ่านไปจากตึกไม้กลายเป็นอาคารคอนกรีตสูง 7 ชั้น มีถึง 30 ห้องเรียน
ตอนที่เริ่มเปิดโรงเรียนใหม่ๆ อาจารย์พิบูลย์ต้องเป็นทุกอย่างในโรงเรียนไม่ว่าจะครูใหญ่ สอนหนังสือ ออกข้อสอบ หรือแม้กระทั่งพิมพ์ข้อสอบ
เพ็ญศรี ยงค์กมล หรือ คุณเพ็ญศรี ยงค์กมล ( อาจารย์ เพ็ญศรี ยงค์กมล เสียชีวิต )
และที่มาของการทำโรงเรียนสองภาษานั้น มาจากที่มีคุณแม่ชาวอเมริกันคนหนึ่งส่งลูกมาเรียนที่โรงเรียนสารสาสน์พิทยา แล้วอาจารย์พิบูลย์จึงให้ คุณแม่ชาวอเมริกันคนนั้นช่วยฝึกฝนภาษาอังกฤษให้กับบรรดาครูในโรงเรียน
และยังเสนอว่าน่าจะเปิดเป็นโรงเรียนสองภาษาแบบที่อเมริกา และหลังจากนั้นก็ค่อยๆขยับขยายโรงเรียนในเครือสารสาสน์ไปยังที่ต่างๆดังเช่นทุกวันนี้
ทั้งนี้ อาจารย์ เพ็ญศรี ยงค์กมล เสียชีวิต โดย พิบูลย์ ยงค์กมล และ อาจารย์เพ็ญศรี ยงค์กมล มี ครอบครัว ยงค์กมล
ลูกทั้งหมด 5 คน คือ พีระพันธ์ สุทธิพงศ์ นันทิดา พิสุทธิ์ และ รตนพร ช่วยงาน และบริหารโรงเรียนคนละ 1-2 สาขา
ปัจจุบัน โรงเรียนในเครือสารสาสน์ มี 24 แห่ง และ หลักสูตรอาชีวศึกษา มหาวิทยาลัย เป็น 45 แห่ง มีนักเรียนทั้งสิ้น 94,258 คน, ครูไทย 6,839 คน และครูต่างชาติ 2,352 คน
โดย พิบูลย์ ยงค์กมล ครอบครัว เจ้าของโรงเรียนสารสาสน์ ตั้งเป้าไว้ว่า ต้องขยายให้ได้ 50 สาขา ( สารสาสน์มีกี่สาขา 2563 )
แท็ก : เพ็ญศรี ยงค์กมล ประวัติ, วันศรีสารสาสน์, เพ็ญศรี ยงค์กมล, อาจารย์ เพ็ญศรี ยงค์กมล เสียชีวิต, พิบูลย์, เจ้าของโรงเรียนสารสาสน์คือใคร, ครอบครัวยงค์กมล, พิบูลย์ ยงค์กมล, เจ้าของรรสารสาสน์, โรงเรียนสารสาสน์ มีกี่สาขา, พิบูลย์ยงค์กมล, วันศรีสารสาสน์ คืออะไร, วันศรีสารสาสน์ คือ, แม่ศรีสารสาสน์, วันศรีสารสาสน์ ประวัติ, วันศรีสารสาสน์, วันศรีสารสาสน์ เรียงความ, เรียงความวันศรีสารสาสน์, เรียงความเรื่อง วันศรีสารสาสน์,รูปครูจุ๋มสารสาสน์, ครูจุ๋ม, โรงเรียนสารสาสน์มีกี่สาขา, ครูจุ๋มชื่อจริง, เจ้าของรร.สารสาสน์, ยงค์กมล ประวัติ, นางเพ็ญศรี ยงค์กมล, นาย พิบูลย์ และ นาง เพ็ญ ศรี ยง ค์ กมล, ประวัติเจ้าของโรงเรียนสารสาสน์, อาจารย์เพ็ญศรี ยงค์กมล, สารสาสน์มีกี่สาขา 2563, รูปเพ็ญศรี ยงค์กมล
เพ็ญศรี ยงค์กมล, เพ็ญศรี ยงค์กมล เสียชีวิต, เจ้าของโรงเรียนสารสาสน์, พิบูลย์ ยงค์กมล ครอบครัว, เพ็ญศรี ยงค์กมล, พิบูลย์ยงค์กมลเกิด, พิบูลย์ ยงค์กมล อายุ, รูปครูจุ๋มสารสาสน์ราชพฤกษ์, รตนพร ยงค์กมล, อาจารย์เพ็ญศรี ยงค์กมล, แม่ใหญ่ สารสาสน์
12 กันยายน 2565
ผู้ชม 20271 ครั้ง