ม็อบเยาวชน ส่ง ราษฎรสาส์น ถึงรัชกาลที่ 10 ม็อบหน้าจอ ขยับ เคลื่อนไหวผ่าน เฟสบุ๊ค ทวิตเตอร์ จาบจ้างพระเกียรติ อ้างเรื่อง ถอดยศทหาร ปลดอดีตหม่อม

บทความ

ม็อบเยาวชน ส่ง ราษฎรสาส์น ถึงรัชกาลที่ 10 ม็อบหน้าจอ ขยับ เคลื่อนไหวผ่าน เฟสบุ๊ค ทวิตเตอร์ จาบจ้างพระเกียรติ อ้างเรื่อง ถอดยศทหาร ปลดอดีตหม่อม

 ม็อบเยาวชน ส่ง ราษฎรสาส์น ถึงรัชกาลที่ 10 ม็อบหน้าจอ ขยับ เคลื่อนไหวผ่าน เฟสบุ๊ค ทวิตเตอร์ จาบจ้างพระเกียรติ อ้างเรื่อง ถอดยศทหาร ปลดอดีตหม่อม 

News Update วันจันทร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2563 - หลังจาก เราได้นำเสนอข่าว ในหลวงทรงมีพระเมตตา แต่งตั้งข้าราชการในพระองค์ฝ่ายพลเรือน

และพระราชทานคืนยศนายตำรวจชั้นสัญญาบัตร พร้อมกับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทุกชั้นตรา

สกลเขต จันทรา คือใคร, สกลเขตจันทราทําผิดอะไร 

ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้ง นายสกลเขต จันทรา ข้าราชการในพระองค์ ฝ่ายพลเรือนให้ดำรงตำแหน่ง ประจำสำนักพระราชวังพิเศษ ระดับ 10 และพระราชทานคืนยศ นายตำรวจชั้นสัญญาบัตร

ประวัติ พลตำรวจโท สกล เขต จันทรา เคยเป็น กรมวังผู้ใหญ่ ตำแหน่งในอดีต หลังจากได้มีการเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ เป็น หน่วยราชการในพระองค์

พล.ต.ท.สกลเขต จันทรา ถือเป็นคนสำคัญ เป็นผู้แทนพระองค์ เป็น หัวหน้างานตามโครงการ ของ กรมราชเลขานุการในพระองค์ เจ้าคุณพระสินีนาฏ พิลาสกัลยาณี โดยเฉพาะ งานอุ่นไอรัก ที่ คุณพระก้อย ทำงานอย่างหนัก

โดย สกลเขต ทุ่มเททำงาน และ กรณียกิจให้ คุณพระก้อย หรือ เจ้าคุณพระสินีนาฏ หรือ หม่อมก้อย, ก้อย สินีนาฏ

ดังนั้น ประชาชน จึงอยากรู้เรื่องต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นคำถาม เกี่ยวกับ

ทําไมหม่อมก้อยได้กลับมา, สกลเขตคือใคร, ประวัติ พลตำรวจโท สกล เขต จันทรา, สกลเขต จันทรา คือใคร, สกลเขตจันทราทําผิดอะไร, สกลเขต จันทรา ทําผิดอะไร

โดย เว็บไซต์ medhubnews.com ข่าวสังคม สุขภาพ ท่องเที่ยว วาไรตี้ และ เพจ sasook ทวิตเตอร์ @medhub_news รายงานว่า ประเด็นสำคัญ ชุมนุมวันนี้ (8 พ.ย.) ของกลุ่มราษฎร  

เริ่มขึ้นตั้งแต่ช่วงบ่าย กิจกรรมสำคัญคือการให้ผู้ชุมนุมเขียนจดหมาย หรือ ที่ผู้จัดการชุมนุมเรียกว่า "ราษฎรสาส์น" เพื่อส่งถึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

โดยระหว่างเคลื่อนตัว ผู้ชุมนุมกลุ่ม "ราษฎร" ถูกตำรวจฉีดน้ำแรงดันสูงเพื่อสกัดไม่ให้เคลื่อนขบวนเข้าใกล้พระบรมมหาราชวัง

แต่กลุ่มราษฎร  ยังคงเดินหน้าผลักดันแนวกั้นของตำรวจจนสามารถนำตู้ไปรษณีย์จำลองไปตั้งบริเวณหน้าศาลหลักเมือง ถ.ราชดำเนินใน

เพื่อให้ผู้ชุมนุมนำจดหมายที่เขียนถึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไปหย่อน ก่อนรวบรวมส่งสำนักพระราชวัง

แต่กลุ่มราษฎร  ยังคงเดินหน้าผลักดันแนวกั้นของตำรวจจนสามารถนำตู้ไปรษณีย์จำลองไปตั้งบริเวณหน้าศาลหลักเมือง ถ.ราชดำเนินใน

เพื่อให้ผู้ชุมนุมนำจดหมายที่เขียนถึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไปหย่อน ก่อนรวบรวมส่งสำนักพระราชวัง

ด้าน บีบีซี ระบุว่า รายการ "ดิอินไคว์รี" ทางวิทยุบีบีซีเวิลด์เซอร์วิส นำเสนอสารคดีข่าวความยาว 24 นาที เมื่อ 5 พ.ย. ที่ผ่านมา

ในหัวข้อ "ทำไมนักเรียนนักศึกษาไทยยอมเสี่ยงติดคุกออกมาเรียกร้องให้ปฏิรูปสถาบันกษัตริย์"

ทามารา ลูส์ รองศาสตราจารย์ด้านประวัติศาสตร์และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษาที่มหาวิทยาลัยคอร์เนล สหรัฐฯ อธิบายว่าเในการใช้โจมตีสถาบัน

คือ การถอดยศทหาร ตำรวจ รวมทั้ง ถอดยศหม่อม พระภรรยา อดีตพระภรรยาของในหลวง

ในหัวข้อนี้ นายแอนดรูว์ แม็คเกรเกอร์ มาร์แชล ผู้สื่อข่าวอิสระชาวสก็อต และนักวิจารณ์ราชวงศ์ไทย กล่าวอ้าง การใช้กฏหมายมาตรา 112 ซึ่งปัจจุบันในหลวง ทรงมีพระเมตตาไม่ให้ใช้มาตรา 112 ต่อประชาชนแล้ว 

การชุมนุมที่เกิดขึ้นโดยกลุ่มนักเรียนและนักศึกษาเกิดขึ้นมาหลายเดือนแล้ว รัฐบาลพยายามสกัดกั้นการชุมนุมของเยาวชนกลุ่มนี้

โดยหนึ่งในการชุมนุมที่เกิดขึ้นรัฐบาลได้ใช้รถฉีดน้ำแรงดันสูงเพื่อสลายการชุมนุม แต่สิ่งที่เกิดขึ้นคือ ผู้ชุมนุมแข็งแกร่งขึ้นและเกิดการรวมตัวกันบ่อยขึ้นด้วยจำนวนผู้เข้าร่วมที่มากขึ้น

เพราะเป็นช่วงเวลาไล่เลี่ยกัน ในการปลด พ.ต.หญิง วรินภร คณิศรโสภณ มหาดเล็กห้องบรรทม กองกิจการในพระองค์ เขตพระราชฐานชั้นในสุด กรมมหาดเล็ก 904 สำนักพระราชวัง

และ คืนยศ ให้ คุณธารินี รอดสน หรือ พล.ต.หญิงธารินี รอดสน ซึ่ง มีคำถามตามมา คุณธารินี รอดสน คือใคร, พลตรี ธารินี รอดสน คือใคร

คุณธารินี รอดสน คือใคร, ภาพ ธา ริ นี้ รอดสน คือใคร ในหลวงรัชกาลที่ 10 จึง โปรดเกล้าคืนยศ

เดอะ ไทมส์ (The Times) เป็นหนังสือพิมพ์รายวัน ที่มีอายุ 235 ปี ยังได้รับความเชื่อถือในหมู่ชนชั้นนำในปัจจุบัน ได้พีพิมพ์บทบรรณาธิการเมื่อ 19 ต.ค. เสนอความเห็นอย่างตรงไปตรงมาว่า

ข้อเท็จจริงที่มีการรายงานในสื่อเยอรมนีเป็นระยะ สืบเนื่องจากเรื่องเล่าขานของชุมชนในบาวาเรียตลอด 10 ปีที่ผ่านมา รวมทั้งภาพข่าวจากประเทศไทยที่มีธรรมเนียมให้ข้าราชการและข้าราชบริพารต้องหมอบคลานเข้าเฝ้า

ตลอดจนการประกาศแต่งตั้งหรือปลดบุคคลสำคัญโดยอ้างอิงประเพณีโบราณที่กลายเป็นข่าวอื้อฉาวไปทั่วโลก ทำให้กองบรรณาธิการมีความเห็นว่าสถาบันพระมหากษัตริย์ไทยถึงเวลาต้องปฏิรูปอย่างเร่งด่วน

ด้วยการจำกัดขอบเขตพระราชอำนาจ (Less Majesty) และลดทอนขนบที่ล้าหลังให้เป็นสากลทันโลกมากขึ้น ถ้าหากประเทศไทยต้องการรักษาความมั่นคงของสถาบันให้เป็นที่เคารพและอยู่รอดในระยะยาว

ดังนั้น การที่มีม็อบก้าวล่วงสถาบัน ในเรื่องต่างๆ ตอนนี้ เป็นจุดอ่อนของ การปฏิรูปสื่อสารมวลชน ปล่อยให้มีการสร้างข่าวลือในโซเชียลมีเดีย

กลุ่มราษฎร และ ผู้สนับสนุน สร้างข่าว กล่าวอ้าง การใช้กฏหมายมาตรา 112 และ  ม็อบหน้าจอ ขยับการเคลื่อไหวผ่าน เฟสบุ๊คบุ๊ค ทวิตเตอร์ จาบจ้างพระเกียรติ อ้างเรื่อง ถอดยศทหาร ปลดอดีตหม่อม  

ภาพ ธา ริ นี้ รอดสน คือใคร พล.ต.หญิง คุณธารินี รอดสน เป็นนายทหาร กองบัญชาการทหารมหาดเล็กราชวัลลภ รักษาพระองค์ หน่วยบัญชาการถวายความปลอดภัยรักษาพระองค์

ข่าวใส่ร้าย บานปลายไปถึง การเล่าแบบปากต่อปาก ข่าวลือ การแต่งตั้งหม่อมใหม่ล่าสุด 63

 ไม่ว่าจะ พล.ต.หญิงธารินี รอดสน คือใคร, พ.ต.หญิง วรินภร คณิศรโสภณ, พล.ต.หญิง นฤมล สัมผัส

เรื่องนี้ เกิดอะไรขึ้น กรณีเกิดเป็นกระแสข่าวลบให้กับทางเจ้านาย การนำข่าวลือ ข่าวปลอม ข่าวใส่สีตีข่าว ที่หมิ่นพระเกียรติ ไปเล่ากันต่อๆ กัน โดยไม่ใช่เรื่องจริง

 บรรดาคนเรารักราชวงศ์จักรี  We love Chakri Dynasty  ต้องอธิบาย หากพบการพูดคุยที่ไม่ใช่เรื่องจริง

โดยควรอธิบายให้คนไทยด้วยกันเข้าใจอย่างสุภาพด้วย ไม่ใช้การทะเลาะ หรือ อารมณ์ขัดแย้ง ตามความเมตตา และ พระราชประสงค์ ของในหลวงทรงมีพระเมตตาไม่ให้ใช้มาตรา 112 ต่อประชาชน

เพราะตอนช่วงนั้น ที่มีการ โปรดเกล้าฯคืนยศและเครื่องราชฯให้ ข้าหลวงประจำพระองค์ จ้าหน้าที่งานในพระองค์ ระดับ ๗ (พยาบาลวิชาชีพ) ฝ่ายใน/ชาวที่หญิง แผนกมหาดเล็กห้องบรรทม กองกิจการในพระองค์

ในหลวงรัชกาลที่ 10 โปรดเกล้าคืนยศ ทุกพระองค์ ดูได้จากทรงมีพระเมตตาผ่านทาง พล.ต.หญิงธารินี รอดสน  ตั้งพระทัยโปรดเกล้าคืนยศ ต่อ และ คืนยศ ตำแหน่ง ให้

โดย คืน ยศ หรือ คืนยศ ตำแหน่ง ให้ ธารินีรอดสน ต่อข้าราชการ รวมทั้ง พระราชโองการ คืนยศเจ้าคุณพระ คืนยศหม่อมก้อย และ ล่าสุด คืนยศ สกลเขต จันทรา และจะโปรดเกล้าคืนยศ

เรื่องดังกล่าว จึงพิสูจน์ให้เห็นว่า ในหลวง รัชกาลที่ 10 
ทรงมีพระเมตตาไม่ให้ใช้มาตรา 112 ต่อประชาชน

คลิ๊กอ่าน "ทำความเข้าใจ ดราม่าเครื่องเพชร เข็มกลัดมรกตล้อมเพชร"

ขอบคุณ บีบีซี ภาพ getty image 

29 มกราคม 2566

ผู้ชม 1193 ครั้ง

Engine by shopup.com